line-pg168

ทำความรู้จัก ไดโนเสาร์กินพืช สายพันธุ์สัตว์ดึกดำบรรพ์รักสงบ

พฤศจิกายน 27, 2024
ไดโนเสาร์กินพืช

ไดโนเสาร์กินพืช สายพันธุ์สัตว์ดึกดำบรรพ์แห่งโลกล้านปี ที่มีนิสัยรักสงบ ดำรงชีวิตด้วยการกินพืชเป็นอาหารหลัก และบางชนิดอาจมีลักษณะทางกายภาพที่เด่นชัด มีอาวุธสำหรับการป้องกันตัวเองจากนักล่า เราจะพาคุณไปทำความรู้จัก จุดเริ่มต้นของสัตว์ดึกดำบรรพ์ และการค้นพบฟอสซิลไดโนเสาร์ชนิดนี้ในประเทศไทย

ข้อมูล ไดโนเสาร์กินพืช จุดเริ่มต้นของสายพันธุ์สัตว์โลกล้านปี

ไดโนเสาร์กินพืช หรือไดโนเสาร์ พวกมันถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตในยุคดึกดำบรรพ์ สายพันธุ์สัตว์เลื้อยคลาน ที่แบ่งออกเป็นสัตว์กินพืช และสัตว์กินเนื้อ ซึ่งปรากฏขึ้นในครั้งแรกของยุคไทรแอสซิก เมื่อประมาณ 243 ล้านปีก่อน แม้ว่าจะยังคงเป็นข้อมูลที่ไม่แน่ชัด เกี่ยวกับข้อมูลต้นกำเนิด หรือข้อมูลวิวัฒนาการของไดโนเสาร์

พวกมันถูกจัดให้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง หลังจากเหตุการณ์สูญพันธุ์ของยุคไทรแอสซิก ก็ได้มีการขยายอำนาจมาจนถึงยุคจูราสสิค และยุคครีเทเชียส จากบันทึกฟอสซิล แสดงให้เห็นว่านก ก็ถือว่าเป็นสายพันธุ์ไดโนเสาร์ที่มีขน อาจวิวัฒนาการมาจากเทอโรพอดในยุคก่อนๆ ถึงแม้ว่าไดโนเสาร์ที่มีขน อาจสูญพันธุ์ไปเมื่อหลายล้านปี

ฟอสซิลไดโนเสาร์ชิ้นแรก ได้รับการค้นพบและการยอมรับ ในช่วงศตวรรษที่ 19 ซึ่งคำว่าไดโนเสาร์หมายความว่า “กิ้งก่าที่น่ากลัว” ถูกคิดค้นชื่อโดย เซอร์ริชาร์ด โอเวน ในปี 1842 เพื่ออ้างอิงฟอสซิลกิ้งก่าขนาดใหญ่ นับจากนั้นเป็นต้นมา ฟอสซิลได้ถูกนำไปแสดงในพิพิธภัณฑ์ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมสมัยนิยม [1]

ต้นกำเนิดสัตว์โลกยุคดึกดำบรรพ์ และการสิ้นสุด

ไดโนเสาร์ หรือ ไดโนเสาร์กินพืช ถือกำเนิดบนโลกเมื่อประมาณ 230 ล้านปี หลังจากการสูญสิ้นของยุคเพอร์เมี่ยน 20 ล้านปี ในช่วงเวลานั้นสัตว์โบราณล้มตาย เนื่องจากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม และถูกแทนที่ด้วยสายพันธุ์สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ ได้แก่ จระเข้ และได้วิวัฒนาการกลายเป็นไดโนเสาร์

แผ่นดินบนโลก ถูกปกครองตั้งแต่ยุคไทนแอสซิก ยุคจูราสสิค และสิ้นสุดในยุคครีเทเชียส ถึงแม้ว่าสายพันธุ์ไดโนเสาร์นั้น จะสูญพันธุ์ไปนานกว่า 70 ล้านปี มนุษย์ก็สามารถขุดพบฟอสซิล และหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ และได้มีการปะติดปะต่อประวัติศาสตร์ของสัตว์โลกยุคดึกดำบรรพ์กลุ่มนี้ขึ้นมาได้

นักโบราณคดีหลายท่าน และหลายประเทศ มักค้นคว้าต้นตอสายพันธุ์ไดโนเสาร์ มีการขุดหาซากของกิ้งก่ายักษ์ และกลายเป็นที่นิยมมากขึ้นในประเทศอเมริกา และยุโรป นับตั้งแต่ปี 1822 จนมาถึงปัจจุบัน ก็ได้มีการค้นพบฟอสซิลไดโนเสาร์ และได้ทำการตั้งชื่อไปแล้วมากกว่า 1,000 ชนิด และยังคงค้นคว้าชนิดใหม่อยู่เรื่อยๆ [2]

ข่าวสารการพบรอยเท้า ไดโนเสาร์กินพืช ชนิดใหม่ในประเทศไทย

เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สำนักงานทรัพยากรธรณีเขต 1 ได้เข้าทำการตรวจสอบร่องรอย ซึ่งคาดว่าคล้ายรอยเท้าสัตว์ดึกดำบรรพ์ ไดโนเสาร์กินพืช ในพื้นที่บ้านดงมะไฟ ตำบลโคกมน อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ จากผลการสำรวจ และการเข้าตรวจสอบพื้นที่ลานหินขนาดใหญ่ แสดงลักษณะการย่างก้าวอย่างชัดเจน

ซึ่งระยะห่างช่วงก้าว มีขนาดใกล้เคียงกันทุกก้าว และขนาดของรอยเท้ามีความยาวเฉลี่ยกัน ถูกจัดอยู่ในหมวดหินห้อย กลุ่มหินโคราช ช่วงยุคไทรแอสซิกตอนปลาย หรือประมาณ 225 ล้านปี จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญรอยเท้าดึกดำบรรพ์ ยืนยันว่าเป็นรอยเท้าของสัตว์ดึกดำบรรพ์ ที่อยู่ในกลุ่มซอโรพอด หรือกลุ่มไดโนเสาร์คอยาว

สำหรับซากดึกดำบรรพ์ ประเภทรอยชีวิน อย่างเช่นรอยเท้า ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตที่สูญพันธุ์ไปแล้ว อีกทั้งยังอธิบายพฤติกรรมส่วนตัว ได้แก่ จังหวะการเดิน ระยะห่าง และลักษณะการเดินทางรอยลาก หรือการยกหาง แม้กระทั่งบอกรายละเอียดตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ในอดีต [3]

ไดโนเสาร์กินพืช การแบ่งกลุ่มและตัวอย่างรายชื่อไดโนเสาร์ที่น่าสนใจ

ไดโนเสาร์กินพืช

หลังจากที่คุณ ได้ทำการศึกษาประวัติต้นกำเนิด และจุดสิ้นสุดของยุคสัตว์เลื้อยคลานดึกดำบรรพ์ การมีอยู่ของ ไดโนเสาร์กินพืช และไดโนเสาร์นักล่าในอดีต ในส่วนถัดไป ทางเราจะพาทุกท่าน ไปรู้จักการแบ่งประเภทของไดโนเสาร์ที่รักสงบ และยกตัวอย่างรายชื่อไดโนเสาร์ เพื่อช่วยให้เข้าใจความหลากหลายของสัตว์ชนิดนี้

ข้อมูล การแบ่งประเภทของกลุ่มไดโนเสาร์กินใบไม้

  • ซอโรพอด (Sauropods) : ไดโนเสาร์กินใบไม้กลุ่มนี้ จะมีลักษณะลำตัวค่อนข้างใหญ่ คอยาว หางยาว เดินด้วยเท้าทั้งสี่ข้าง ฟันจะมีลักษณะคล้ายดินสอ ใช้สำหรับกัดหรือรูดใบไม้
  • ออร์นิธอพอด (Ornithopods) : กลุ่มไดโนเสาร์ที่สามารถเดินด้วยสองขา และสี่ขา ฟันเรียงเป็นแถวในช่องปาก บางชนิดมีปากเป็นจะงอยคล้ายเป็ด อาหารส่วนใหญ่จะเป็นใบไม้ และพืชที่อยู่ในระดับพื้นดิน
  • เซราทอปเซีย (Ceratopsians) : มีลักษณะเด่นตรงกะโหลกที่ใหญ่ บางชนิดมีแผงคอหรือเขา ปากคล้ายจะงอยนก มีความแข็งแรงมากพอในการกัดพืชแข็ง
  • สเตโกซอเรีย (Stegosauria) : กลุ่มไดโนเสาร์ที่มีแผ่นกระดูก หรือหนาวอยู่บนแผ่นหลัง ลำตัวใหญ่ เดินสี่ขา ฟันเล็กและเรียบ เหมาะสำหรับกินพืชอ่อน เช่น เฟิร์นและพืชคลุมดิน
  • แองคิโลซอร์ (Ankylosaurs) : กลุ่มไดโนเสาร์ที่มีขนาดลำตัวหนา มีเกราะกระดูกหุ้มทั่วตัว หางมีกระบอก เป็นอาวุธสำหรับป้องกันตัวเองจากนักล่า ฟันเล็กและแบน เหมาะสำหรับบดพืช
  • พาคิเซฟาโลซอร์ (Pachycephalosaurs) : กลุ่มไดโนเสาร์ที่มีกะโหลกหนา ใช้ในการป้องกันตัวหรือพุ่งชน เดินสองขา อาหารส่วนใหญ่จะเป็นพืชหลากหลายชนิด เช่น ใบไม้และผลไม้

รีวิว 5 ตัวอย่างรายชื่อไดโนเสาร์กินพืช ที่โด่งดังมากที่สุด

  1. Triceratops : เป็นสายพันธุ์ไดโนเสาร์ที่มีเขา 3 เขา และมนุษย์รู้จักพวกมันเป็นอย่างดี ที่ปรากฏขึ้นครั้งแรกในช่วงปลายยุคครีเทเชียส เมื่อประมาณ 68 ล้านปีก่อน สำหรับใครที่อยากดูรายละเอียดเพิ่มเติม สำหรับเจ้าไดโนเสาร์สามเขาชนิดนี้ สามารถคลิกเข้าไปดูได้ที่ ไทรเซอราทอปส์
  2. Iguanodon : เป็นสายพันธุ์ไดโนเสาร์กินใบไม้ชนิดแรก ที่มนุษย์ได้มีการค้นพบ และได้รับการศึกษาข้อมูลมากที่สุด ดำรงชีวิตอยู่ในยุคครีเทเชียส จนถึงยุคจูราสสิก เมื่อประมาณ 110 ล้านปีที่ผ่านมา หากท่านอยากทราบข้อมูลเพิ่มเติม สามารถคลิกเข้าไปดูได้ที่ อิกัวโนดอน
  3. Stegosaurus : เจ้ากิ้งก่ามีหลังคา เป็นไดโนเสาร์ประเภทมีเกราะ ดำรงชีวิตอยู่ในยุคจูราสสิกตอนปลาย ประมาณ 155-145 ล้านปีก่อน มีจุดเด่นตรงที่แผ่นหลังของมัน จะเต็มไปด้วยแผ่นหนามรูปทรงห้าเหลี่ยม หากคุณต้องการดูรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถคลิกเข้าไปดูได้ที่ สเตโกซอรัส
  4. Brachiosaurus : สายพันธุ์ซอโรพอดขนาดใหญ่ ซึ่งมีขนาดเทียบเท่ากับช้างแอฟริกา 15 เชือก อาศัยอยู่ในยุคจูราสสิคตอนปลาย จุดเด่นอยู่ที่ลักษณะคอของมัน ซึ่งมีความยาวถึง 9 เมตร หากท่านต้องการดูบทความรีวิวไดโนเสาร์ชนิดนี้ สามารถคลิกเข้าไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ แบรคิโอซอรัส
  5. Ankylosaurus : สายพันธุ์ไดโนเสาร์ขนาดใหญ่ ที่มีจุดเด่นตรงปลายหางคล้ายลูกตุ้ม ซึ่งเป็นอาวุธสำหรับป้องกันตัวเองจากนักล่า อีกทั้งผิวหนังของมันยังมีเกราะหุ้ม จึงเป็นเหตุผลที่พวกมันไม่ถูกล่าเป็นอาหาร หากท่านต้องการดูข้อมูลเพิ่มเติม สามารถคลิกเข้าไปดูได้ที่ แองคิโลซอรัส

สรุป ไดโนเสาร์กินพืช

สำหรับกลุ่มไดโนเสาร์รักสงบ ไดโนเสาร์กินพืช ถือว่าพวกมันเป็นกลุ่มที่มีการปรับตัว บางชนิดสามารถวิวัฒนาการร่างกายของตัวเอง ให้สามารถอยู่รอดหรือป้องกันอันตรายจากนักล่าได้ อีกทั้งบางชนิดยังมีจุดเด่นที่น่าสนใจ เช่น เขาแหลมที่งอกออกมา หรือจะเป็นหางที่คล้ายลูกตุ้ม ซึ่งเป็นอาวุธสำหรับป้องกันตัวเอง

อ้างอิง

[1] วิกิพีเดีย. (November 18, 2024). ไดโนเสาร์. Retrieved from th.wikipedia

[2] NONGNOOCH WONDER WORLD. (2024). กำเนิดไดโนเสาร์. Retrieved from nongnoochpattaya

[3] Thai PBS. (May 6, 2023). พบรอยตีนไดโนเสาร์กินพืชอายุ 225 ล้านปี. Retrieved from thaipbs

อุปสรรคขวากหนามในชีวิตจริงย่อมมีหนทางเอาชนะ มีเพียงสิ่งที่อยู่ในจินตนาการเท่านั้นที่ไม่อาจเอาชนะได้
PG168-HOMEหน้าหลักPG168-Promotionโปรโมชั่นpg168PG168-Registerสมัครสมาชิกpg168-Eventกิจกรรม
PGSLOT
หวย
บาคาร่า
กีฬา
โปรโมชั่น
สมาชิกใหม่รับโบนัส
แตกแจกเพิ่ม
ฝากแรกของวัน
กงล้อลุ้นโชค
ขาประจำ
ติดต่อเราLINE
pg168LINE ID : @vippg168PG168-line
PG168-bank
Copyright © 2023 Supported by PG168
pg168LINE ID : @vippg168
PGSLOT
หวย
บาคาร่า
กีฬา
PG168-linePG168-bankCopyright © 2023 Supported by PG168